วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ฺBisphosphonate กับ OMFS

ยา bisphosphonate เป็น analog of inorganic pyrophosphate  โดยจะมีกลไกการออกฤทธิ์
  1. Inhibit osteoclast differentiated and induce osteoclast apoptosis
  2. Complex interaction with GH and IGF-1 มีผลลดvascular supply ใน bone
  3. Inhibit epithelial cell function, decrease proliferation และ increase rate of apoptosis
  4. Reduce capillary ture formation 
ยาจะมี 2 formคือ 
Oral form : Actonel (risedronate), Fosamax(alendronate)
IV form : Aredia (pamidronate), Zometa (Zoledronic acid)
Indication 
IV form : รักษาคนไข้ที่เป็นมะเร็งลุกลามมากระดูก เช่น CA breast, prostate หรือ ภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว เช่น hypercalcemia หรือภาวะ osteolytic process ของ multiple myeloma
Oral form : Osteoporosis and osteopenia, paget’s disease, osteogenesis imperfecta
Osteonecrosis of jaw จะให้เป็นโรคนี้ได้ จะต้องมี 
  1. มีประวัติใช้ยา bisphosphonate หรือ เคยใช้ยานี้อยู่
  2. มีnecrotic or expose bone มากกว่า 8 week
  3. ไม่มีประวัติของ การฉายรังสีรักษา
Incidence 
IV form : 0.8-12%
Oral form : 0.01-0.04 (0.09-0.34 followed extraction), (0.06% followed long term use)
Risk factor 
Drug potency : พบว่า IV form > oral form  และ Zometa > Aredia
มีรายงาน คนไข้CA ที่ใช้ IV form จะมีความเสี่ยงในการเกิด2.7-4.2 เทียบกับไม่ใช้
Duration : ยิ่งใช้นาน โอกาสเสี่ยงยิ่งมากขึ้น 
Dentoalveolar surgery : อะไรก็ตามที่ถึงกระดูก มีโอกาสเกิดหมด  (ในคนไข้CA ที่IV form และทำdentoalveolar surgery จะมีความเสี่ยง5-21เท่า)
Local anatomy : mandible > maxilla = 2 เท่า และ จุดที่mucosa บางๆจะเกิดได้ง่าย เช่น torus, mylohyoid ridge
Concomitant disease เช่น periodontal disease
Dermographic and systemic factor
  1. อายุมากขึ้น ความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 
  2. เพศไม่เกี่ยวกับความเสี่ยง
  3. คนขาว มีโอกาสเป็นมากขึ้น
  4. โรคทางระบบ ทำให้ความเสี่ยงมากขึ้น เช่น  renal dis., low Hb, Obesity and DM
  5. รักษาทำเคมีบำบัดก็เพิ่มความเสี่ยง 
  6. สูบบุหรี่ เพิ่มความเสี่ยง แต่ ดื่มเหล้าไม่เกี่ยวนะ
Preventive and Treatment 
IV form : ควรจะต้องรักษาให้เสร็จก่อน ที่จะเริ่มยา ละให้ดีสุด ควรรอหลังทำอย่างน้อย 14-31day เพื่อให้มีgranulation tissueปิดกระดูกหมดก่อน หรือให้ดีที่สุด รอbone healingเลย 4-6week
-implant อย่าได้แตะเลยนะ ทำละเรื่องยุ่ง, พวกฟันปลอม ก็คอยตรวจเช็คด้วยว่ามีฟันปลอมกดหรือป่าว โดยเฉพาะในจุดmucosa บางๆ
Oral form : ตัวเลขตัดกันที่ 3 year 
  ถ้าน้อยกว่า3ปี : ทำได้เลยจ้า แต่ก็ควรบอกความเสี่ยง โอกาสเกิดกับคนไข้ด้วยนะ
  ถ้ามากกว่า 3ปี : ต้องแจ้งความเสี่ยงให้คนไข้รู้เลยนะ ถ้าจะทำก็ใช้drug holiday (หน้า 3 หลัง 3 mo)
และถ้ามีประวัติใช้steriod ไม่ว่ามากหรือน้อยกว่า 3ปี ต้องdrug holiday หมดนะ 
การใช้HBO AAOM ในปี 2009 บอกว่ามีผล improve wound healing and pain score แต่ยังไม่รับรองการใช้นะ
Stage ต่างๆของ ONJ
Patient at risk : ไม่มีอะไรเล้ย แต่มีประวัติ ว่าใช้ bisphosphonate : ไม่ต้องทำราย แต่ก็สอนคนไข้OHI นะ 
Stage O :  ไม่มีbone expose แต่มีอาการที่ ไม่สัมพันธ์เลย อยู่ดีๆเป็นดื้อๆ 
clinic : ปวดฟัน หาสาเหตุไม่ได้ ปวดกระดูก มีอาการปวดsinus มีsensory เปลี่ยแปลงไป หรือมีฟันโยก หรือ มีรอยโรคปลายราก หรือfistula โดยที่ไม่มีฟันตาย  
x-ray: มีalveolar bone resorp, dense trabeculae, persis ext socket, Thick PDL/lamina dura, mandibular canal ตีบ
ระยะนี้ รักษาตามอาการจ้า 
Stage 1 : มีbone expose แต่ไม่มีอาการ 
ระยะนี้ ให้น้ำยาบ้วนปากที่ฆ่าเชื้อ แล้วก็ติดตามผลการรักษาดี ๆ
Stage 2: มีbone expose  และมี pain or infection 
ระยะนี้ ใช้น้ำยาบ้วนปากที่ฆ่าเชื้อ ยาฆ่าเชื้อ แล้วก็ pain control ดีๆ , ทำsuperficial debridement ได้นะ
Stage 3: มีbone expose มีติดเชื้อ มีปวด และมีอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ดังต่อไปนี้ ( extra oral fistula, pathologic fractue , osteolytic extend to border or maxilla ,zygoma)
ระยะนี้รักษา เหมือนstage2  ร่วมกับsurgical debridement หรือ resection 

1 ความคิดเห็น: